วันอาทิตย์ที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2558

Green Architect

สถาปตยกรรมสีเขียว: การทาทายเพื่อความยั่งยืน
(Green Architecture: The Sustainability Challenge)



การพัฒนาแบบยั่งยืน (Sustainable Development):
   “การพัฒนาที่สรางโอกาสใหคนรุนปจจุบันแสวงหาประโยชนไดโดยไมปดโอกาสใหคนรุนหลังเขามาแสวงหาประโยชนอยางนั้นบาง
 องคการสหประชาชาติ, 1987

Ecological Buildings:
   “กระแสความเคลื่อนไหวหนึ่งของสถาปตยกรรมรวมสมัยที่มีจุดมุงหมายเพื่อสรางอาคารที่เปนมิตรกับสภาพแวดลอม ประหยัดพลังงาน ใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด รวมทั้งการใชประโยชนจากพลังงานแสงอาทิตยและวัสดุที่ไมทําลายสภาพแวดลอมตลอดกระบวนการผลิต การใชงานและการยอยสลาย
Meyers Neues Lexikon, 1994

   “การประยุกตใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อชวยใหอาคารสามารถใชประโยชนจากสภาวะแวดลอมตามธรรมชาติ (แสงแดด, ลม, ดิน, น้ํา, พืชพันธ, สัตว) ดวยวิธี Passive อยางเต็มที่
 Klaus Daniels, 1995

สถาปตยกรรมสีเขียว

                  สถาปตยกรรมสีเขียวเปนผลผลิตจากกระแสความคิดใหมในการออกแบบสถาปตยกรรมที่มีรากฐานมาจากสถาปตยกรรมยั่งยืน (Sustainable Architecture) ที่เกิดขึ้นในชวงเวลาไมเกิน 20 ปที่ผานมา หลังจากที่แนวทางการออกแบบอาคารประหยัดพลังงานดวยวิธี Passive Design ในยุโรปและอเมริกาไมประสบความสําเร็จ กระแสความคิดของสถาปตยกรรมสีเขียวเกิดขึ้นได้มิใชเพราะการขาดแคลนพลังงานแตเปนเพราะปญหาสิ่งแวดลอม เชน ปรากฏการณเรือนกระจก (Greenhouse Effect) ปรากฎการณหลุมโอโซน (Ozone Hole) เกาะความรอน (Urban Heat Island) ฝนกรด (Acid Rain) การทําลายปา (Deforestation) รวมทั้งการแพรกระจายของโรคติดตออันเกิดจาก สภาพอากาศของโลกที่เปลี่ยนไป (Climate Change)




                  ปจจุบันตองยอมรับวาการบริโภคพลังงานจากแหลงพลังงาน ดั้งเดิมเชนถานหิน หรือน้ำมันดิบ กอใหเกิดการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดสูบรรยากาศโลก และกาซนี้จะทํา ใหความรอนจากผิวโลกไมสามารถแผรังสีกลับสูอวกาศไดทําใหเกิดปรากฏการณโลกรอน (Global Warming) ปญหาโลกรอนจะทําใหเกิดปญหาตามมาอีกสารพัด โดยเฉพาะภาคการเกษตร ในประเทศเกษตรกรรมอยางประเทศไทยจะ
ไดรับผลกระทบรุนแรงมาก จะเห็นวาปญหาโลกร้อนเปนปญหาที่กวางและซับซอนเกินกวาวิชาความรูแขนงใดแขนงหนึ่งจะเขาแกไขได ดังนั้นการสรางสถาปตยกรรมสีเขียว จึงตองอาศัยบูรณาการของวิชาความรูทางสถาปตยกรรมศาสตรวิศวกรรมศาสตรวิทยาศาสตรอาคาร (Building Science) การวางผังเมือง การบริหารการกอสราง โดยกรอบความคิดของสถาปตยกรรมสีเขียวก็คือประโยคงายๆที่ทุกคนมักจะพูด --“Human beings should live in harmony with nature” 


ภาพตัวอยางการออกแบบสถาปตยกรรมที่ตอบรับสภาพอากาศไดอยางดีในเขตทะเลทราย 
โดยใชอุปกรณดักลม ซึ่งเปนแนวทางการออกแบบ Passive Design หรือเรียกวา Bioclimatic Architecture


ลักษณะของ Green Buildings: Basic requirements


ถาหากจะมองหลักการของ Passive design ในสมัยทศวรรษที่ 70 ที่เทคโนโลยีอาคารยังไมเจริญนัก ใหเปนแมแบบของอาคารสีเขียว จะพบวาการออกแบบใหตอบรับกับสภาพแวดลอมเพื่อใหเกิดสภาวะนาสบายยังคงเปนหัวใจสําคัญของการออกแบบอาคารสีเขียว เพียงแตเปาหมายมิใชเพียงแคการลดการใชพลังงานอยางเดียวอีกตอไปแลวเปาหมายของอาคารสีเขียวที่เพิ่มมาก คือ การผสมผสานองคความรูจาก Passive design เขากับเทคโนโลยีสมัยใหมของศตวรรษที่ 20 ในการที่จะใชประโยชนจากพลังงานธรรมชาติที่สะอาด และไมมีวันหมดโดยตรง ในอีกความหมายหนึ่งก็คืออาคารสีเขียวจะไมพยายามเสนอแนะการลดการใชพลังงานหากพลังงานนั้นมีความจําเปนตอการผลิตหรือการอยูอาศัยของมนุษยแตจะเสนอแนะใหอาคารใชพลังงานจากแหลงที่สะอาด และไมมีวันหมดไป (renewable energy) ซึ่งในเบื้องตน อาคารสีเขียวจึงจะตองประกอบไปดวยองคประกอบ 3 สวนหลักดังตอไปนี้

1) ความสอดคลองกับสภาพอากาศ 
กฎเกณฑขอแรกของคําวาสถาปตยกรรม ที่สถาปนิกอาชีพลวนไดเคยศึกษาเลาเรียนมาจากโรงเรียน ลวนจะตองประกอบดวยการออกแบบใหตอบสนองตอสภาพอากาศ (Climate Responsiveness) การสอดคลองกับสภาพอากาศหมายถึงการออกแบบจัดวางพื้นที่ใชสอยอาคาร ตามทิศทางแดด ทิศทางลมธรรมชาติและการเลือกใชวัสดุกอสรางตกแตงที่ทําให อาคาร นาสบาย ไมร้อน ไมหนาว ไม่ชื้น ไมแหงเกินไป กอนที่จะเริ่มอาศัยเครื่องจักรกลที่บริโภคพลังงาน ซึ่งหมายถึงการออกแบบ Passive Design นั่นเอง ซึ่งปจจุบัน หลักการออกแบบใหตอบสนองตอสภาพอากาศในโรงเรียนสถาปตยกรรมในประเทศไทย อาจจะกลาวไดวาเปนเพียงการเรียนการสอนเพื่อใหรูและทองจําทฤษฎีเทานั้น ยังไมไดเนนในวิชาปฏิบัติการออกแบบเทาใดนัก สาเหตุสวนหนึ่งคือการที่ทั้งอาจารยและนักศึกษาสถาปตยไมมีความรูทางวิทยาศาตรอยางเพียงพอที่จะเขาใจวิธีการออกแบบใหสอดคลองกับสภาพอากาศนั่นเอง

2) ความนาสบาย
              มีหลายครั้งที่ความพยายามประหยัดพลังงานอยางไมอาศัยสติปญญา คือการงดใชพลังงานทั้งทีจําเปนตองใชซึ่งพบไดทั่วไปในหนวยงานราชการของรัฐ กอผลเสียตามมาที่ทําใหอาคารไมนาสบาย รอนเกินไป หนาวเกินไป แสงสวางไมเพียงพอ เสียงดังรบกวน หรือคุณภาพอากาศภายในไมสะอาดบริสุทธิ์นอกจากจะกอใหเกิดผลเสียตอประสิทธิภาพการทํางานของบุคลากร ประสิทธิผลการเรียนรูของนักศึกษา แลวยังมีผลเสียทางเศรษฐกิจจากการที่อาคารและอุปกรณอาคารมิไดถูกใชประโยชนอยางเต็มที่ตามที่ไดลงทุนกอสรางสูญเสียทรัพยากรลงไปตั้งแตตน ดวยเหตุนี้องคประกอบของสถาปตยกรรมสีเขียวจึงตองกําหนดใหอาคารมีการรักษาสภาวะนาสบายของมนุษยใหอยูในเกณฑมาตรฐานที่เปนที่ยอมรับอยางเปนสากลในสวนที่เกี่ยวของกับสิ่งตอไปนี้
สภาวะนาสบายเชิงอุณหภาพ (Thermal comfort)
แสงสวาง (Visual/lighting comfort)
เสียง (Acoustical comfort)
คุณภาพอากาศภายใน (Indoor air quality: IAQ)

3) การใชพลังงานจากธรรมชาติ
             นับตั้งแตการปฏิวัติอุตสาหกรรมที่ทําใหอาคารบานเรือนเลือกใชพลังงานจากแหลงน้ำมันดิบที่ทําลายสภาพแวดลอมดังกลาวแลว สถาปตยกรรมสีเขียวจึงมุงสงเสริมใหเกิดการนําพลังงานจากธรรมชาติแหลงอื่น มาแทนที่พลังงานสกปรก ซึ่งตามความเปนจริงแลว พลังงานจากดวงอาทิตยจํานวนมหาศาลไดเขามาสะสมบนโลก และรอใหถูกนํามาใชเพียงแตการนํามาใชอาจจะตองอาศัยองคความรูมากขึ้นกวาเดิม ทั้งนี้แหลงพลังงานที่อาคารสามารถนำมาใชไดมักจะเปนพลังงานที่หาทดแทนได(Renewable Energy) ซึ่งจะไดแก
พลังงานแสงอาทิตย(ดวยการใชรังสีจากดวงอาทิตยเพื่อใหความรอนและผลิตกระแสไฟฟา)
พลังงานจากน้ํา (จากการผลิตกระแสไฟฟา และการใชเปนแหลงความรอน/ความเย็น)
พลังงานจากดิน (จากการสะสมความรอนในดิน)
พลังงานลม (จากการผลิตกระแสไฟฟาโดยตรงและการเพิ่มสภาวะนาสบายดวย ventilation)
พลังงานจากพืชพันธ(จากการกันแดดและการระเหยของน้ําเพื่อสรางความเย็น)
พลังงานจากสัตวมูลสัตว(จากการสรางพลังงานชีวมวล--Biomass)




ภาพแสดงตัวอยางแนวทางการออกแบบ Passive solar design ที่เกิดขึ้นในสมัยวิกฤตการณพลังงานที่อาศัย
หลักการเคลื่อนไหวของอากาศตามธรรมชาติเมื่อมีความรอนจากดวงอาทิตย

หลักการออกแบบ Green buildings




หลักการออกแบบอาคารสีเขียวจะประกอบดวยปฏิสัมพันธขององคประกอบทั้งสามสวนไดแก่ ตัวอาคาร สภาพแวดลอม และการนําเทคโนโลยีที่เหมาะสมเขามาเชื่อมโยงใหเกิดความสัมพันธระหวางอาคารและ สภาพแวดลอม ซึ่งการใชเทคโนโลยีตางๆก็จะถูกผสมผสานเขาไปในทุกสวนของอาคาร ตั้งแตการเริ่มตนสรางแนวความคิดในการออกแบบอาคารไปจนถึงการกอสราง การใชงาน และการวางแผนปรับปรุงและยอยสลาย สวนประกอบอาคาร หลักการออกแบบอาคารสีเขียวทั่วไปมีดังตอไปนี้




ภาพแสดงตัวอยางแนวทางการออกแบบ Green Buildings ที่ประสานการออกแบบระบบอาคารกับองคประกอบทางสถาปตยกรรมเพื่อใชพลังงานธรรมชาติอยางเต็มที่

1) ตัวอาคาร (Building fabric)
ฉนวนกันความรอนโปรงใส Transparent Insulating Material (TIM)

การใชแผงโซลาร (Bldg.-integrated photovoltaic & solar collector)
การเก็บกักความรอน-ความเย็น (Thermal storage)
แสงสวางธรรมชาติ (Daylight)

การใชวัสดุประสิทธิภาพสูง (Low-e materials)
การประยุกตใชรมเงาจากตนไม (Planted surfaces)
การทําความเย็นวิธีธรรมชาติในเวลากลางคืน (Night cooling - infrared irradiation)


2) สภาพแวดลอม (Exterior space)
การจัดรูปทรงและทิศทางอาคาร (Building forms & orientations)

การระบายอากาศวิธีธรรมชาติ (Natural ventilation)


การสรางรมเงาใหอาคาร (Solar energy & sun shading)
การใชทรัพยากรแหลงน้ําใตดิน (Groundwater & aquifer)
การทําความเย็นความรอนดวยดิน (Geothermal cooling/heating)
การใชแหลงน้ําบนดิน (Water surfaces)

3) เทคโนโลยีอาคาร (Building technology)

การใชเซลสแสงอาทิตยผลิตไฟฟา (Photovoltaic: PV)


กังหันลมผลิตไฟฟา (Wind generator)
การขุดเจาะใตดินเพื่อทําความเย็น (Bore holes)
• การสรางคลังน้ําแข็ง (Ice storage)

การใชเครื่องทําความรอนพลังงานแสงอาทิตย (Active solar collector)


การใชพลังงานจากดิน (Geothermal)
การใชพลังงานชีวมวล (Biomass)


การประเมิน Green buildings

หนวยงาน BRE (Building Research Establishment) ในประเทศอังกฤษ ไดเสนอ 3 ชุดของเกณฑการประเมินผลอาคารสีเขียวดังจะกลาวตอไป โดยอาคารที่ผานเกณฑนี้จะสงผลทางบวกแกเจาของอาคารในแงตางๆ เชน 
1) การสงเสริมภาพพจนขององคกร 2) การสรางจุดขาย 3) ความยั่งยืน Sustainability สําหรับประเทศไทยก็กําลังมีการ
วางแผนการให ดาว แกอาคารที่สามารถเขาขาย อาคารสีเขียว แตในขณะนี้จะเนนไปทางดานการลดการใชพลังงานมากกวาการใชพลังงานทดแทนที่สะอาด เกณฑของ BRE จะแบงการประเมินเพื่อใหคะแนนตามหัวข้อตอไปนี้

1) Global evaluation
อัตราการปลอย CO2 จากการใชพลังงาน (CO2 emission) จากโรงงานผลิตไฟฟา
ฝนกรด (Acid rain) จากการใชพลังงานและการปลอยของเสียสูบรรยากาศโลก
การทําลายโอโซน (โดยสาร CFC ในเครื่องปรับอากาศ)
การใชทรัพยากรธรรมชาติและการรีไซเคิล
การใชวัสดุที่ไมตองนําไปทําลายเมื่อใชแลวเสร็จ
ความคงทนของวัสดุกอสราง (Longevity)

2) Local evaluation
ระยะทางและความยากลําบากในการขนสงวัตถุดิบ (มีผลโดยตรงกับ Embodied energy)
การจัดการทรัพยากรน้ํา (Water resource management)
การจัดการเสียงรบกวน (Noise)
การประยุกตใชลมธรรมชาติ (Wind force)
การบังแดดจากสิ่งแวดลอม (Shading)
การใชประโยชนจากอาคารดั้งเดิมอยางเต็มที่ (Reuse of existing buildings)

3) Interior evaluation
ปริมาณการใชวัสดุเปนพิษและอันตราย (Toxic & dangerous materials)
ประสิทธิภาพการใชแสงธรรมชาติ (Daylighting)
ประสิทธิภาพการใชแสงประดิษฐ (Artificial lighting)
สภาวะนาสบาย (Thermal comfort)
ประสิทธิภาพการระบายอากาศ (Ventilation)


ภาพแสดงตัวอยางการผลักดันใหเกิดอุตสาหกรรม Prefabricated solar panel ประกอบอาคารในแนวทางของ Green buildings

ตัวอยางแบบประเมินอาคาร LEED


การที่จะนําคําวา Green buildings ไปเปนจุดขายเพื่อแสวงผลประโยชนทางการตลาดในโครงการอสังหาริมทรัพยหรือแมแตสมัครเขารับการชวยเหลือจากภาครัฐหรือองคการนานาชาติดานสิ่งแวดลอม ทําใหมีการโฆษณาชวนเชื่อวาโครงการที่กําลังออกแบบกอสรางนั้น เปนอาคารสีเขียว การที่จะพิสูจนยืนยันวาโครงการตาง ๆ นั้นไดรับการออกแบบใหเปน Green buildings อยางถูกวิธีจึงจําเปนตองมีการกําหนดเปนมาตรฐานขึ้นมา ซึ่งสว่นใหญจะใชวิธีการใหคะแนนตามรายการ (Checklist) หรือเรียกวาแบบประเมินอาคาร ซึ่งปจจุบัน ทั่วโลกไดพัฒนาแบบประเมินของตนเองออกมา เชน ในประเทศอังกฤษ ไดมีการพัฒนาแบบประเมินอาคารสีเขียวเรียกวา BREEAM (Building Research Establishment’s Environmental Assessment Method) หรือในประเทศสหรัฐอเมริกา ก็มีหนยงาน The U.S. Green Building Council (USGBC) ไดพัฒนาแบบประเมินอาคารที่เรียกวา LEED หรือ Leadership in Energy & Environmental Design ซึ่งไดแยกเกณฑการใหคะแนนเปนขอ ดังนี้โดยอาคารที่ผานเกณฑแตละขอก็จะไดคะแนนสะสม จนไดคะแนนรวมเพื่อเสมือนที่ะให ดาว แกอาคาร เปนดาวเงิน ดาวทอง หรือดาว platinum



1) Sustainable Site (14 คะแนน)
ในหัวขอนี้จะเนนที่การเลือกสถานที่ตั้งโครงการที่ไมรุกล้ำพื้นที่ที่เปนแหลงธรรมชาติเดิม ซึ่งหากใชสถานที่เดิมที่เคยทําการกอสรางแลว ก็จะไดคะแนนในหัวขอนี้มาก นอกจากนี้การใหคะแนนในหัวขอนี้ก็จะเกี่ยวของกับการพยายามรักษาหนาดินเดิม การปองกันการกัดกรอนของหนาดิน การจัดการระบบระบายน้ำฝน การลดมลภาวะทางดานแสงสวางรบกวนสูสภาพแวดลอมขางเคียงในเวลากลางคืน การเลือกสถานที่ตั้งที่การคมนาคมขนสงมวลชนสามารถเขาถึงได เพื่อประหยัดพลังงานจากการใชน้ำมัน หรือรถยนตสวนตัวการมีพื้นที่สีเขียวเพื่อลดภาวะเกาะรอน (Heat Island)
• Erosion & Sedimentation Control (Required)
• Site Selection
• Development Density
• Brownfield Redevelopment
• Alternative Transportation
• Reduced Site Disturbance
• Stormwater Management
• Heat Island Effect
• Light Pollution Reduction

2) Water Efficiency (5 คะแนน)
             ในหัวขอนี้จะเนนที่การใชทรัพยากรน้ําอยางมีประสิทธิภาพ การออกแบบภูมิสถาปตยกรรมที่ไมสิ้นเปลืองน้ําเพื่อการบํารุงรักษาตนไมซึ่งยังรวมถึงการใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการบําบัดน้ําเสียจากโครงการ
• Water Efficient Landscaping
• Innovative Wastewater Technology
• Water Use Reduction

3) Energy and Atmosphere (17 คะแนน)
ในหัวขอนี้จะเนนที่การใชทรัพยากรพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ รวมถึงการใชพลังงานทดแทนอยางเหมาะสม ทางดานการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ เจาของอาคารจะตองมีแผนการจัดการพลังงานและแผนการบํารุงรักษาอุปกรณงานระบบอาคารอยางเหมาะสม และสม่ําเสมอ รวมทั้งการตรวจวัดการใชพลังงานของอาคาร (Measurement & Verification) นอกจากการออกแบบอาคารใหมีประสิทธิภาพตั้งแตตน
การจัดการอาคารภายหลังอาคารไดรับการเปดใชงานแลว ก็จัดเปนเรื่องที่สําคัญมากดวย ทางดานสิ่งแวดลอมที่เก่ียวกับการรักษาบรรยากาศโลก หัวขอนี้ยังจัดใหคะแนนแกการออกแบบที่ชวยลดกาซเรือนกระจก ที่พบวาทําใหเกิดรูโหวของโอโซนชั้นบรรยากาศโลกอีกดวย
• Fundamental Building Systems Commissioning (Required)
• Minimum Energy Performance (Required)
• CFC Reduction in HVAC&R Equipment (Required)
• Optimized Energy Performance
• Renewable Energy
• Additional Commissioning
• Ozone Depletion
• Measurement & Verification
• Green Power

4) Materials and Resources (13 คะแนน)
               ในหัวขอนี้จะเนนที่การใชวัสดุกอสรางอาคารอยางมีประสิทธิภาพและเปนวัสดุที่มาจากแหลงที่ตองทําลายสิ่งแวดลอม โดยหลักการทั่วไป มักจะไดแกวัสดุรีไซเคิล หรือวัสดุกอสรางพื้นถิ่นที่ไดมาโดยไมตองเสียคาใชจายหรือคาพลังงานในการขนสงมาจากแหลงอื่น รวมทั้งการวางแผนจัดการขยะจากการกอสรางอาคารอีกดวย
• Storage & Collection of Recyclables (Required)
• Building Reuse
• Construction Waste Management
• Resource Reuse
• Recycled Content
• Local / Regional Materials
• Rapidly Renewable Materials
• Certified Wood

5) Indoor Environmental Quality (15 คะแนน)
              ในหัวขอนี้จะเนนที่การออกแบบ กอสราง และบริหารจัดการใหอาคารมีสภาวะแวดลอมภายในที่นาสบาย ปลอดสารพิษ โดยวิธีการใชวัสดุกอสรางและตกแตงอาคารที่เหมาะสม การจัดใหมีการระบายอากาศที่เพียงพอ การไดรับแสงสวางธรรมชาติรวมถึงการจัดการบริหารอาคารและการทําความสะอาดอยางเหมาะสมและสม่ําเสมอ โดยมีหัวขอที่ใหคะแนนดังนี้
• Minimum IAQ Performance (Required)
การควบคุมควันบุหรี่ (Environmental Tobacco Smoke Control (Required))
การตรวจจับปริมาณความเขมขนของกาซคารบอนไดออกไซด(Carbon Dioxide (CO2) Monitoring)
ประสิทธิผลของการระบายอากาศ (Ventilation Effectiveness)
แผนการกอสรางที่มีการจัดการคุณภาพอากาศภายใน (Construction IAQ Management Plan)
การใชวัสดุอาคารที่มีการปลอยสารเคมีหรือสารพิษตาง (Low-Emitting Materials)
การควบคุมสารเคมีและสารมลพิษภายใน (Indoor Chemical & Pollutant Source Control)
การควบคุมระบบอาคาร (Controllability of Systems)
สภาวะนาสบายเชิงอุณหภาพ (Thermal Comfort)
การใหแสงสวางธรรมชาติและทิวทัศน(Daylight & Views)

6) Innovation and Design Process (5 คะแนน)
              ในหัวขอนี้จะเนนที่การออกแบบสวนประกอบอื่น ที่ผูออกแบบอาคารสรางสรรคขึ้นมาใหเปนนวัตกรรมที่ชวยแกไขปญหาสิ่งแวดลอม โดยทั่วไปมักจะไดแกองคประกอบการออกแบบพิเศษที่มีลักษณะนอกเหนือไปจากกฎเกณฑทั่ว ไปที่กําหนดไวในขอ 1-5 ทั้งนี้แบบประเมิน LEED ยังไดใหคะแนนพิเศษแกโครงการที่มีผูเชี่ยวชาญพิเศษที่ไดการรับรองวามีความสามารถที่จะเสนอแนะแนวทางการออกแบบอาคารใหสอดคลองกับแนวทางของ LEED อีกดวย
ผูเชี่ยวชาญที่ไดรับการรับรอง (LEED Accredited Professional)
นวัตกรรมในการออกแบบ (Innovation in Design)

คะแนนเต็มมีทั้งสิ้น 69 คะแนน ซึ่งเมื่อรวมคะแนนทั้งหมดแลว หากไดคะแนนรวม 26-32 คะแนน จะไดระดับ
Certified” ถาไดคะแนน 33-38 คะแนน จะไดระดับ “Silver” ถาไดคะแนน 39-51 จะไดระดับ “Gold” และถาไดคะแนน 52-69 จะไดระดับ “Platinum” ผลที่ไดนี้จะเปนแรงจูงใจใหมีการคิดคน ออกแบบ และกอสราง Green buildings กันมากขึ้น โดยทั้งนี้จะมีหนวยงานของภาครัฐใหการสนับสนุนตอไป สําหรับประเทศไทย ไดมีการศึกษาวิจัยเพื่อจัดทําแบบประเมินอาคารประหยัดพลังงานและรักษาสิ่งแวดลอม โดยกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) กระทรวงพลังงาน ไดมอบหมายใหจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (โดยคณะผูวิจัยจากคณะสถาปตยกรรมศาสตรและสถาบันวิจัยพลังงาน) ทําการศึกษาและออกแบบวิธีการประเมินอาคารสีเขียวในแนวทางที่คลายกันกับ LEED โดยใน
ขั้นตนไดเรียกชื่อวา TEEAM (Thailand Energy and Environmental Assessment Method) ซึ่งกรมพัฒนาพลังงาน
ทดแทนและอนุรักษพลังงานไดนํามาใชเปนเกณฑประเมินอาคารที่จะเขาขายที่จะไดรับการสงเสริมจากรัฐบาล ซึ่งคาด
วาจะเปนที่ยอมรับในวงการอสังหาริมทรัพยมากขึ้นในไมชานี้

บทสรุปสําหรับสถาปนิกไทย

ที่กลาวมาเกี่ยวกับความเปนมาและขอกําหนดกฎเกณฑของสถาปตยกรรมสีเขียวนี้จะเห็นวาการจะเริ่มมีอาคารสีเขียวเกิดขึ้นในประเทศไทย จะตองไดรับการรวมมือสนับสนุนจากหลาย ฝาย ทั้งผูออกแบบ ผูประกอบการและภาครัฐ รวมทั้งตองมีกลไกในการสงเสริมและเกณฑในการประเมินผล สําหรับสถาปนิกผูออกแบบ การริเริ่มออกแบบอาคารสีเขียวคงจะตองเริ่มตั้งแตการศึกษาปจจัยทางสภาพแวดลอม สภาพภูมิประเทศ สภาพภูมิอากาศ วาจะมีผลอยางไรตอการกําหนดแนวทางการออกแบบใหสอดคลองกัน โดยศึกษาตัวอยางจากการออกแบบสถาปตยกรรม
พื้นถิ่น (Vernacular Architecture) ที่มีอยูแตเดิมอยางพินิจพิจารณาวาบรรพบุรุษไดคนพบวิธีการแกปญหาใหอาคารอยูสบายไดอยางไรในสภาพอากาศแบบตาง ซึ่งองคความรูที่มีมักจะไมปรากฏเปนตําราคูมือการออกแบบที่ชัดเจนแตกลับแอบแฝงอยูทุกหนทุกแหง สถาปนิกจะตองมีความรูในหลาย ดานอยางเพียงพอที่จะสามารถเขาถึง และ "เก็บเกี่ยว ภูมิปญญาเหลานั้นมาใชไดและตองนํามาใชอยางชาญฉลาด ตอบสนองตอเทคโนโลยีการกอสราง และบริบทของปจจุบัน Frank Gehry เคยกลาวไวในภาพยนตรของเขาวา “Everything has been done before, but what got change is technology (Sketches of Frank Gehry; the Movies)” ฉะนั้นสถาปนิกตองศึกษาความรูเทคโนโลยีดานอื่น เพิ่มเติมโดยไมจํากัดวาเรื่องดังกลาวเปนเรื่องของวิชาชีพอื่นอีกตอไป เพราะทุกอยางจะเขามาเชื่อมโยงกันในที่สุด อยางไรก็ตาม จะตองรําลึกไวเสมอวาเทคโนโลยีสมัยใหมมิใชสิ่งสำคัญที่สุดในการไดมาซึ่งสถาปตยกรรมสีเขียว แตแทจริงแลวคือการผสมผสานแนวคิดอนุรักษนิยมเขากับวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสมัยใหม เราทุกคนตองตระหนักวาปญหาโลกรอน เปนปญหาที่ทุกคนในโลกใบเดียวกันนี้ตองไดรับผลกระทบอยางหลีกเลี่ยงไมไดโปรดอยาเกี่ยงกันเพื่อการทําความเย็นและความสะอาดใหแกโลกใบนี้อีกเลย

ตัวอย่างอาคารเขียวในประเทศไทย

ธนาคารกสิกรไทย สาขาแจ้งวัฒนะ (โดยบริษัท Design 103 International)
                 องค์กรและผู้ออกแบบมีความตั้งใจอย่างเต็มเปี่ยมที่จะทำให้อาคารนี้เป็นอาคารเขียวในมาตรฐานนานาชาติ (LEED) ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีที่ทำให้องค์กรต่าง ๆ ให้ความสนใจในองค์ประกอบหลาย ๆ ด้านของสถาปัตยกรรมสีเขียว เช่น การเลือกที่ตั้ง การอนุรักษ์น้ำ การอนุรักษ์พลังงาน สภาพแวดล้อมภายในที่น่าอยู่และมีสุขภาวะ และการใช้วัสดุ แต่จุดที่สำคัญของอาคารนี้นอกจากเรื่องการใช้ระบบเปลือกอาคารและระบบวิศวกรรมที่มีประสิทธิภาพสูง ก็คือการเลือกซื้ออาคารเก่ามาปรับปรุง แทนที่จะสร้างอาคารขึ้นใหม่ รวมทั้งการปรับเปลี่ยนพื้นที่รกร้าง ลานคอนกรีตที่จอดรถเดิม ให้เป็นสวนสาธารณะที่ให้น้ำซึมลงดินได้ ลดภาวะปรากฏการณ์เกาะร้อน (Urban Heat Island)


The Avenue รัชโยธิน Siam Future (โดยบริษัท Contour)
                   ลักษณะเด่นทางด้านสถาปัตยกรรมสีเขียวของโครงการอสังหาริมทรัพย์แห่งนี้ ไม่ได้อยู่ที่การประหยัดพลังงาน การประหยัดน้ำ หรือการใช้วัสดุหรืองานระบบที่มีประสิทธิภาพสูงตามมาตรฐานที่สถาปัตยกรรมสีเขียวทั่วไปมักจะเป็น แต่กลับอยู่ที่ความใจกว้างของผู้ประกอบการ และความตั้งใจของผู้ออกแบบที่ได้สละพื้นที่จัดเป็น open space สีเขียวที่มากกว่าเกณฑ์ตามกฎหมาย หรือมาตรฐานการลงทุนทั่วไป โดยได้มีการเก็บรักษาต้นไม้ใหญ่เดิมไว้ 100% ซึ่งทำให้การออกแบบวางผังรูปร่างอาคารมีการถอยร่นจากถนน มีการลัดเลี้ยวหลีกเลี่ยงตำแหน่งต้นไม้เดิม เกิดเป็นสภาพแวดล้อมที่เชื่อมโยงกันอย่างกลมกลืนระหว่างภายในและภายนอก ก่อเกิดเป็น space ของสถาปัตยกรรมเขตร้อนชื้นสมัยใหม่ ที่ส่งเสริมให้คนออกมาเดินใช้เวลาภายนอกห้องปรับอากาศมากขึ้น ซึ่งหากมองใน context ระดับเมือง จะเห็นการก่อเกิดของ urban space ที่มอบให้แก่ชุมชนเมือง โดยพยายามทำให้เกิดเป็นความยั่งยืนทางเศรษฐศาสตร์ (Economic Sustainability)

สนามบินนานาชาติเกาะสมุย (โดยบริษัท Habita)
                 ลักษณะเด่นของความเป็นสถาปัตยกรรมสีเขียวในอาคารแห่งนี้คือความกลมกลืนกับบริบททางวัฒนธรรม (Cultural Context) เป็นการดึงความเป็นเอกลักษณ์ของสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นเขตร้อนชื้น (Tropical Vernacular Design) มานำเสนออย่างเด่นชัด งดงาม ตั้งแต่การระบายอากาศธรรมชาติ คุณภาพของแสงสว่างธรรมชาติ การใช้วัสดุและการออกแบบรายละเอียดทางสถาปัตยกรรม ถึงแม้อาคารหลังนี้จะไม่มี “ของเล่นสีเขียว” (Green Gadgets) ใด ๆ มาประกอบใช้ เช่นเปลือกอาคารประสิทธิภาพสูง หรือ ระบบวิศวกรรมนำสมัย แต่ผู้ออกแบบเลือกให้ความสำคัญต่อความเป็น “สถาปัตยกรรมสีเขียว” ที่ลุ่มลึกกว่าการเป็นเพียง “อาคารเขียว” ตามมาตรฐานของตะวันตกที่กำลังเป็นที่นิยมเช่น LEED หรือ BREEAM

พิพิธภัณฑสถาน มหาวิทยาลัยกรุงเทพ (โดยบริษัท A49)
                 ถึงแม้ว่าอาคารหลังนี้จะไม่ได้มีการออกแบบครบทุกองค์ประกอบในเกณฑ์ของสถาปัตยกรรมสีเขียว แต่ผู้ออกแบบเลือกแสดงบางข้ออย่างเด่นชัด ซึ่งจุดที่เด่นมากของอาคารนี้คือการนำเสนอรูปแบบของการเพิ่มพื้นที่สีเขียวให้แก่อาคาร โดยการใช้หลังคาเขียว หรือ green roof ขนาดใหญ่ที่ประสานการออกแบบเส้นสายที่สวยงามน่าสนใจ ทำให้เกิดความรู้สึกว่าตัวอาคารได้จมตัวลงไปกับพื้นโลก เกิดขึ้นและกลับคืนสู่พื้นโลก ซึ่งน่าจะเป็นความตั้งใจของผู้ออกแบบตั้งแต่ต้น

อาคารปฏิบัติการ คณะเศรษฐศาสตร์ ม.เกษตรศาสตร์ (โดยบริษัท ต้นศิลป์ สตูดิโอ)
                สถาปัตยกรรมสีเขียวไม่ใช่แค่การปลูกต้นไม้มาก ๆ แต่สำหรับอาคารหลังนี้ การมีต้นไม้จำนวนมากภายในคอร์ท เป็นเพียงส่วนหนึ่งเท่านั้นของการออกแบบเพื่อให้เป็นสถาปัตยกรรมสีเขียวที่น่าอยู่สำหรับผู้ใช้อาคาร การออกแบบในแนวทางสถาปัตยกรรมเขตร้อน (Tropical Design) ต่างหากที่เป็นจุดสำคัญที่ไม่ได้ถึงกับซ่อนอยู่ เพียงแต่ไม่ได้ถูกทำให้เด่นชัดจนเกินไป (Present but not being featured) การระบายอากาศธรรมชาติ ภายในโถงที่เว้นพื้นที่ไว้เป็นพิเศษแสดงถึงความตั้งใจให้เกิดความน่าสบายตามธรรมชาติ ร่วมกับการออกแบบการกันแดดที่ช่องเปิดที่มีการคำนวณองศาดวงอาทิตย์และ Sun Chart อย่างถี่ถ้วน ก่อให้เกิดผลงานออกแบบที่แสดงถึงความตั้งใจที่น่ายกย่องเป็นตัวอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเป็นอาคารเรียนของราชการ

กุฏิวัดพุทธเขาโคดม (โดยคุณสุริยะ อัมพันศิริรัตน์)
                ความพอเพียง ความยั่งยืน และเป็นมิตรต่อสรรพสิ่งในโลก เป็นสิ่งที่สถาปัตยกรรมสีเขียวได้ถูกกำหนดไว้เป็นพัน ๆ ปี ภายใต้หลักปรัชญาพุทธศาสนา อาคารหลังนี้แสดงความเรียบง่ายทั้งการออกแบบและการใช้วัสดุ ซึ่งยังคงสร้างความรู้สึกน่าสบาย การระบายอากาศ และ “คุณภาพ” ของสภาพแวดล้อมภายในที่ลุ่มลึกเกินมาตรฐานอาคารเขียวระดับนานาชาติใด ๆ จะสามารถเข้ามาประเมินอาคารหลังนี้ได้


เอกสารอางอิง 

อรรจนเศรษฐบุตร 2549. สถาปตยกรรมยั่งยืน และนิเวศวิทยาคาร เอกสารประกอบการสอน วิชาเทคโนโลยีอาคาร และสิ่งแวดลอม 1 ภาควิชาสถาปตยกรรมศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

http://www.asa.or.th/th/node/99809

 โชติกา ตรึงตราจิตกุล 
54020017